ZT Maju - шаблон joomla Продвижение

การจักการความรู้ (KM) ผู้ป่วยรถนอน ต้องไม่หนาว

km (2)

หน่วยงาน แผนกซักฟอก ร่วมกับงานเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การจักการความรู้ (KM)เรื่อง ผู้ป่วยรถนอน ต้องไม่หนาว
Download เอกสาร

 

การจัดการความรู้ของหน่วยงาน เรื่อง แนวทางปฏิบัติและป้องกันการระบุตัวผู้ป่วยผิดพลาด(Patient Identify)

km (2)

การจัดการความรู้ของหน่วยงานศูนย์ส่งเสริมสุขภาพ (Check Up)

ร่วมกับศูนย์รับผู้ป่วยใน และ งานเคลื่อนย้ายผู้ป่วย

หัวข้อในการจัดการความรู้(Knowledge Vision)

เรื่องแนวทางปฏิบัติและป้องกันการระบุตัวผู้ป่วยผิดพลาด(Patient Identify)

วันที่ 6 มิถุนายน 2567

Download เอกสาร

การจัดการความรู้ปี 2565/2

      การจัดการความรู้ เรื่อง การระงับเหตุอัคคีภัยของศูนย์เคลื่อนย้ายผู้ป่วย

      วัน เดือน ปี : 20 มิถุนายน  2565 เวลา 10.00-11.00น.

     ผู้เข้าร่วมกิจกรรม

  1. นางนงนุช แย้มวงศ์                                      ผู้จัดการความรู้ (KM   Manager)
    1. นายภิรมย์ ทองสิบวงษ์                                  คุณอำนวย (
    2. นายธีรพล   สุขชาติคุณลิขิต (Note Taker)
    3. นายเอกมงคล ระบอบคุณกิจ
    4. นายทวีป       แย้มสระโสคุณกิจ

   1. หลักการและเหตุผล

              อัคคีภัยเป็นภัยพิบัติที่สามารถเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากความประมาท และขาดความระมัดระวัง ศูนย์เคลื่อนย้ายผู้ป่วย เป็นหน่วยงานสังกัดศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพฯ เป็นหน่วยงานที่เป็นศูนย์อำนวยการเมื่อเกิดเหตุอัคคีภัย บุคลากรภายในหน่วยงานจึงต้องทักษะ ความรู้อย่างเพียงพอ รวมถึงอุปกรณ์ต่าง ๆต้องมีความพร้อมต่อการใช้งานและต้องมีขั้นตอนการระงับเหตุอัคคีภัยที่ชัดเจน เป็นรูปธรรมสามารถปฏิบัติตามได้ง่าย ไม่สับสน เพราะหากเกิดอัคคีภัยขึ้นจะก่อให้เกิดความสูญเสียอย่างใหญ่หลวงต่อ ชีวิตและทรัพย์สิน และยังส่งผลกระทบต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมภายนอกด้วย ซึ่งในระบบการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลจะต้องมีกระบวนการเตรียมพร้อมต่อภัยพิบัติหรือภาวะฉุกเฉินอย่างเป็นระบบ และศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพฯ จะต้องดำเนินการเตรียมความพร้อมสำหรับการประเมินเพื่อการรับการรับรอง

(HA) ตามมาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพด้านสิ่งแวดล้อมทางกายภาพและความ ปลอดภัย ดังนั้น เพื่อเป็นการเตรียมพร้อมในการป้องกันและลดความเสี่ยงต่ออัคคีภัยอย่างเป็นระบบ และสามารถรับมือได้อย่างมีประสิทธิภาพ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จึงได้จัดท าแผน ป้องกันและระงับอัคคีภัย เพื่อให้บุคลากรได้มีความรู้ความเข้าใจ และตระหนักถึงอันตรายที่เกิดจาก อัคคีภัย ตลอดจนสามารถปฏิบัติ การตามแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยได้อย่างมีประสิทธิภาพ  

2. วัตถุประสงค์

-เพื่อให้มีการถ่ายทอดองค์ความรู้ใหม่ๆจากการได้รับการอบรมเพิ่มเติมแก่พนักงานใหม่และพนักงานเดิมให้มีความรู้และวิธีปฏิบัติที่เป็นปัจจุบันอยู่เสมอ

   3. เป้าหมาย/ตัวชี้วัด  

-เพิ่มทักษะและความชำนาญในการจัดการของพนักงานเมื่อเกิดเหตุอัคคีภัยในหน่วยงานและในองค์กร

     4. วิธีการ/รูปแบบการจัดการความรู้   ***(กรุณาระบุ)***

 

            /¨ Success Story Telling (SST) (กรณีเลือกข้อนี้ให้ใส่ข้อมูลตามตารางข้อ 5.1)

            ¨ The World Cafe (กรณีเลือกข้อนี้ให้ใส่ข้อมูลตามตารางข้อ 5.2)

 

    5. กระบวนการจัดการความรู้ (Share & Learn)

5.1 Success Story Telling (SST)

ผู้เล่าเรื่อง

(Narrator)

เหตุการณ์

(Context)

เทคนิค/วิธีการ

(Action)

ผลลัพธ์ที่ได้รับ

(Result)

นายภิรมย์

การประสานงานเมื่อเกิดเหตุอัคคีภัย

เล่าเรื่อง

ขั้นตอนประสานงาน

นายธีรพล

วิธีการใช้ถังดับเพลิง

เล่าเรื่อง

วิธีการใช้ถังดับเพลิง

นายเอกมงคล

การช่วยเหลือหน่วยงานอื่น

เล่าเรื่อง

ขั้นตอนการช่วยเหลือ

นายทวีป

การขนย้ายผู้ป่วยเมื่อเกิดอัคคีภัย

เล่าเรื่อง

ขั้นตอนการเคลื่อนย้าย

       
       
       

 

5.2 The World Cafe

ผู้เล่าเรื่อง

(Narrator)

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้

(Share & Learn)

เทคนิค/วิธีการ

(Action)

     
     
     
     
     
     
     
     
     
     

 

6.สรุปความถี่ (ข้อมูลที่ได้มาจากข้อ 5.1 หรือ 5.2)

 

เรื่อง

จำนวนความถี่

1.ขั้นตอนการประสานงาน

7

2.วิธีการใช้ถังดับเพลิง

5

3.แนวทางการช่วยเหลือหน่วยงานอื่น

4

4.วิธีการขนย้ายผู้ป่วยกรณีเกิดเหตุอัคคีภัย

8

   
   
   
   
   

7. Key Success Factor (ปัจจัยที่ทำให้ประสบความสำเร็จ สรุปจากกระบวนการจัดการความรู้ในข้อ.6                        (โดยเรียงจากความถี่ที่ได้จากข้อ 6 จากความถี่มากสุดไปหาน้อยสุด)

  1. วิธีการขนย้ายผู้ป่วยกรณีเกิดเหตุอัคคีภัย..................................................................  
  2. ขั้นตอนการประสานงาน........................................................................
  3. วิธีการใช้ถังดับเพลิง............................................................................................      
  4. แนวทางการช่วยเหลือหน่วยงานอื่น..............................................................................

8. นวัตกรรมหรือสิ่งที่ได้จากการจัดการความรู้ (กรุณาแนบหลักฐาน)

             £ คู่มือ

          /£ แผ่นพับ

          /และ £ มีการเผยแพร่ความรู้ผ่านโปรแกรมหรือระบบต่างๆ..เมื่อวันที่..(ระบุ)...........................

เพื่อการตรวจสอบ (พร้อมปริ้นเอกสารแนบ หน้า website KM หน่วยงานมาด้วย)

9. ผลจากการดำเนินการทำกิจกรรม KM

-มีการถ่ายทอดองค์ความรู้ให้กับพนักงานใหม่และฟื้นฟูทักษะของพนักงานเดิมให้มีความรู้ที่ทันสมัยและเป็นปัจจุบันอยู่เสมอ

10. สรุปผลการนำเทคนิคไปปฏิบัติใช้

-บุคลากรทุกคนมีความเข้าใจในขั้นตอนและมีความพร้อมในการจัดการตนเองและให้ความช่วยเหลือหน่วยงานอื่น

11. After Action Review (AAR)

  1. ท่านสามารถนำองค์ความรู้ไปพัฒนาหน่วยงานของท่านได้อย่างไร
  2. ท่านสามารถนำองค์ความรู้ไปพัฒนาองค์กรได้อย่างไร

-สามารถนำไปถ่ายทอดองค์ความรู้ให้กับพนักงานที่เข้ามาทำงานใหม่และมีระบบบำรุงรักษาอุปกรณ์ดับเพลิงในหน่วยงานให้พร้อมใช้งานอยู่เสมอ

-เป็นส่วนหนึ่งของERT Team ขององค์กร

ภาพกิจกรรม

IMG 20220621 104842 11zonIMG 20220621 104842 11zon

IMG 20220621 104927 11zonIMG 20220621 104918 11zon

เทคนิค (Service mind) ที่จุดบริการรับ-ส่งผู้ป่วย

179980

Knowledge Vision

เรื่อง เทคนิค (Service mind) ที่จุดบริการรับ-ส่งผู้ป่วย

คลิกรายละเอียด

การจัดการความรู้ปี 2565

 

      การจัดการความรู้เรื่อง การเฝ้าระวังป้องกันการใช้รถเคลื่อนย้ายผู้ป่วยความดันลบพลังงานไฟฟ้า

1639557578271

 

   ผู้เข้าร่วมกิจกรรม

  1. นางนงนุช         แย้มวงศ์                              ผู้จัดการความรู้ (KM   Manager)
    1. นายภิรมย์   ทองสิบวงษ์                          คุณอำนวย (
    2. นายประทีป แย้มสระโส                           คุณลิขิต (Note Taker)
    3. นายธีรพล   สุขชาติ                               คุณกิจ
    4. นายเอกมงคล          ระบอบ                             คุณกิจ
    5. นายอำนาจ            จั่นพลาย                             คุณกิจ
    6. นายประสบโชค  แก้วงาม                                   คุณกิจ
    7. นายนพนันท์           คงศร                                คุณกิจ
    8. นายวิโรจน์          สุขสมบูรณ์                    คุณกิจ
    9. นายทรนงค์         ธรรมชาติ                     คุณกิจ

   1. หลักการและเหตุผล

จากการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา -19 ในช่วงต้นปีพ.ศ.2563 สถานพยาบาลต่าง ๆต้องให้บริการผู้ป่วยที่เข้าข่ายต้องสงสัยติดเชื้อและผู้ที่ติดเชื้อมาแล้ว มาไว้เพื่อทำการตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการและการรักษาพยาบาลต่าง ๆ ซึ่งเชื้อไวรัสชนิดนี้มีการแพร่กระจายเชื้อผ่านละอองฝอยในอากาศจากคนหนึ่งสู่อีกคนหนึ่งได้โดยแก่นฝอยละออง (droplet nuclei) ที่มีเชื้อจุลชีพอยู่ เป็นสิ่งที่ทำให้เกิดการแพร่กระจายเชื้อทางอากาศได้ ซึ่งเชื้อไวรัสมีขนาดมากกว่าหรือเท่ากับ 5 ไมครอนสามารถแขวนลอยอยู่ในอากาศได้นานโดยไม่ตกลงพื้น และล่องลอยไปในอากาศได้ไกลมากจากจุดกำเนิด หากมีการติดเชื้อแล้วอาจมีอาการรุนแรงจนกระทั่งเสียชีวิตได้ในเวลาอันรวดเร็ว การป้องกันของบุคลากรทางการแพทย์นั้นมีหลายมาตรการ เช่น การล้างมือด้วยแอลกอฮอล์เจล การใส่ชุดป้องกัน การใส่หน้ากากอนามัย รวมไปถึงการใช้ Face shield เพื่อป้องกันตนเองและป้องกันการรับเชื้อจากผู้อื่น แต่ในกระบวนการให้บริการของหน่วยเคลื่อนย้ายซึ่งต้องสัมผัสผู้ป่วยอย่างใกล้ชิดและขนส่งผู้ป่วยไปสถานที่ต่าง ๆมีโอกาสเสี่ยงสูงมากที่จะได้รับเชื้อจากผู้รับบริการ คณะผู้ประดิษฐ์ได้วิเคราะห์เห็นช่องว่างในการที่จะทำให้เกิดการแพร่กระจายเชื้อได้โดยง่ายจากการขนย้ายผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อหรือสงสัยว่าติดเชื้อไปยังหน่วยงานต่าง ๆ เช่น ห้องเอ็กซเรย์ หรือ ห้องพักผู้ป่วย จึงได้คิดค้นวิธีการป้องกัน โดยได้ประดิษฐ์รถเข็นนั่งสำหรับเคลื่อนย้ายผู้ป่วยแบบแรงดันลบขึ้นมาเพื่อช่วยป้องกันการแพร่กระจายเชื้อและเพิ่มความปลอดภัยทั้งด้านผู้ให้บริการและผู้มารับบริการรวมถึงประชาชนอื่น ๆที่อยู่บริเวณใกล้เคียง

โดยหลักการทำให้ภายในกล่องผู้ป่วยเป็นแรงดันลบ คือ มีการนำอากาศภายนอกเข้ามาภายในตัวกล่องผ่านที่กรองอากาศ ซึ่งการไหลเวียนของอากาศภายในเพียงพอสำหรับหายใจ และความแตกต่างของความดันภายในกล่องต่ำกว่าภายนอก ทำให้โรคไม่ฟุ้งกระจาย และตกสู่ด้านล่างของกล่องและดูดออกภายนอกผ่าน Hepa- filter และผ่านแสง อินฟาเรดเพื่อฆ่าเชื้อโรค ก่อนปล่อยสู่บริเวณรอบ ๆ  สำหรับ versionนี้ เป็นการปรับปรุงจุดอ่อน 3 เรื่อง 1) แรงส่งกรณีพบเส้นทางที่ไม่สม่ำเสมอ แล้วแรงดันรถไม่เพียงพอ เลยใช้การบังคับการเคลื่อนย้ายล้อหน้าด้วยพลังงานไฟฟ้าจากแบตเตอรี่แทนแรงขับเคลื่อนจากคน 2) ระบบตัวกรองและการฆ่าเชื้ออากาศที่ระบายสู่ภายนอกโดยเพิ่มให้ผ่านรังสีอินฟาเรดหลังผ่านตัวกรอง Hepa-filter เพื่อฆ่าเชื้อก่อนดูดทิ้งสู่ภายนอก 3) ความสะดวกในการทำกิจกรรมกับผู้ป่วย อาทิ เช่น ขึ้นลงได้ 2 ทาง เบาะนั่งนุ่มสบายขึ้น (ทำความสะอาดง่าย) สามารถติดตั้ง infusion pump ภายในกล่องได้ สามารถสื่อสารระหว่างผู้ป่วยกับเจ้าหน้าที่ได้สะดวกขึ้น เพิ่มเครื่องมือตรวจวัดแรงดัน อุณหภูมิ ออกซิเจน ตัววัดกำลังไฟฟ้า เป็นต้น

   2. วัตถุประสงค์

 เพื่อให้บุคลากรและทักษะในการใช้รถแรงดันลบอย่างถูกต้อง

   3. เป้าหมาย/ตัวชี้วัด   

   มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน

   4. วิธีการ/รูปแบบการจัดการความรู้    ***(กรุณาระบุ)***

 

          / ¨ Success Story Telling (SST)   (กรณีเลือกข้อนี้ให้ใส่ข้อมูลตามตารางข้อ 5.1)

          ¨ The World Cafe (กรณีเลือกข้อนี้ให้ใส่ข้อมูลตามตารางข้อ 5.2)

 

      5. กระบวนการจัดการความรู้  (Share & Learn)

5.1 Success Story Telling (SST)

ผู้เล่าเรื่อง

(Narrator)

เหตุการณ์

(Context)

เทคนิค/วิธีการ

(Action)

ผลลัพธ์ที่ได้รับ

(Result)

อำนาจ

การใช้สวิทซ์ต่าง ๆ

สาธิตการใช้งาน

มีความรู้และใช้งานได้ถูกต้อง

ภิรมย์

การขับเคลื่อนในทิศทางต่าง ๆ

สาธิตการใช้งาน

มีความรู้และใช้งานได้ถูกต้อง

เอกมงคล

การทำความสะอาดภายหลังการใช้งาน

เล่าเรื่อง

เข้าใจขั้นตอน

ธีรพล

การตรวจสอบความพร้อม

สาธิตการใช้งาน

มีความรู้และใช้งานได้ถูกต้อง

วิโรจน์

วิธีการขอใช้งานรถความดันลบ

เล่าเรื่อง

เข้าใจขั้นตอน

ทรนงค์

การดูผู้ป่วยขณะเคลื่อนย้าย

สาธิตการใช้งาน

มีความรู้และใช้งานได้ถูกต้อง

       

 

5.2 The World Cafe

ผู้เล่าเรื่อง

(Narrator)

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้

(Share & Learn)

เทคนิค/วิธีการ

(Action)

     
     
     
     
     
     
     
     
     
     

 

6.สรุปความถี่ (ข้อมูลที่ได้มาจากข้อ 5.1 หรือ 5.2)

 

เรื่อง

จำนวนความถี่

  1. การทำความสะอาดหลังการให้บริการ         
  2.  การบังคับรถไปทิศทางที่ต้องการและสัญญาณต่าง ๆ
  3. ข้อกำหนดการใช้รถความดันลบ
  4. การทำงานของรถเพื่อให้ความดันเป็นลบ  
  5. การตรวจสอบความพร้อมก่อนใช้งาน
  6. การดูแลผู้ป่วยขณะเคลื่อนย้าย       
 
 

6

   
 

5

 

7

   

 

 

7. Key Success Factor (ปัจจัยที่ทำให้ประสบความสำเร็จ สรุปจากกระบวนการจัดการความรู้ในข้อ.6                          (โดยเรียงจากความถี่ที่ได้จากข้อ 6 จากความถี่มากสุดไปหาน้อยสุด)  

1.การตรวจสอบความพร้อมก่อนใช้งาน

2.การบังคับรถไปทิศทางที่ต้องการและการใช้สัญญาณต่าง ๆ

3.การทำงานให้ความดันเป็นลบ  

4.การดูแลผู้ป่วยขณะเคลื่อนย้าย

5.ข้อกำหนดในการใช้รถความดันลบ       

6.การทำความสะอาดหลังการให้บริการ         

8. นวัตกรรมหรือสิ่งที่ได้จากการจัดการความรู้ (กรุณาแนบหลักฐาน)

              £  คู่มือ

          /£  แผ่นพับ

          /และ £  มีการเผยแพร่ความรู้ผ่านโปรแกรมหรือระบบต่างๆ..เมื่อวันที่..(ระบุ) 13 ม.ค.65

เพื่อการตรวจสอบ (พร้อมปริ้นเอกสารแนบ หน้า website KM หน่วยงานมาด้วย)

9. ผลจากการดำเนินการทำกิจกรรม KM

ผู้ปฏิบัติงานสามารถใช้งานได้อย่างถูกต้องและมีการบำรักษารถความดันลบอย่างสม่ำเสมอ

10. สรุปผลการนำเทคนิคไปปฏิบัติใช้

มีการตรวจสอบความพร้อมก่อนการใช้งานและการทำความสะอาดภายหลังการใช้งานทุกครั้ง

11. After Action Review (AAR)

  1. ท่านสามารถนำองค์ความรู้ไปพัฒนาหน่วยงานของท่านได้อย่างไร
  2. ท่านสามารถนำองค์ความรู้ไปพัฒนาองค์กรได้อย่างไร
  3. นางนงนุช         แย้มวงศ์                              ผู้จัดการความรู้ (KM   Manager)
    1. นายภิรมย์   ทองสิบวงษ์                          คุณอำนวย (
    2. นายประทีป แย้มสระโส                           คุณลิขิต (Note Taker)
    3. นายธีรพล   สุขชาติ                               คุณกิจ
    4. นายเอกมงคล          ระบอบ                             คุณกิจ
    5. นายอำนาจ            จั่นพลาย                             คุณกิจ
    6. นายประสบโชค  แก้วงาม                                   คุณกิจ
    7. นายนพนันท์           คงศร                                คุณกิจ
    8. นายวิโรจน์          สุขสมบูรณ์                    คุณกิจ
    9. นายทรนงค์         ธรรมชาติ                     คุณกิจ

พัฒนาองค์ความรู้และทักษะการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อสู่บุคลากรและการแพร่กระจายสู่สิ่งแวดล้อม

ส่งเสริมให้เกิดการสร้างนวตกรรมและพัฒนางานประจำอย่างต่อเนื่อง

12. ภาพประกอบการทำกิจกรรม

1639557600590

 

                                                                             ....................................................................

                                                                                       (ลงชื่อนางนงนุช  แย้มวงศ์)

                                                                                หัวหน้าหน่วยงานการพยาบาลรัก

        

Zo2 Framework Settings

Select one of sample color schemes

Google Font

Menu Font
Body Font
Heading Font

Body

Background Color
Text Color
Link Color
Background Image
 
Top of Page