จัดการความรู้ของหน่วยงาน ซักฟอก ร่วมกับ งานเคลื่อนย้ายผู้ป่วยและงานเวชภัณฑ์กลาง
หัวข้อในการจัดการความรู้ (Knowledge Vision)
เรื่อง การป้องกันและการระงับอัคคีภัย
วันที่ 9 ธันวาคม 2562
ผู้เข้าร่วมกิจกรรม
1. นางนงนุช แย้มวงศ์ ผู้จัดการความรู้ (KM Manager)
2. นายไชยนันท์ คุ้มเพื่อน คุณอำนวย ( Facilitator)
3. นายพรเทพ จันทร์แก้ว คุณอำนวย ( Facilitator)
4. นางสาวสุวรรณา สินสวาท คุณลิขิต (Note Taker)
5. นางสาววีรนุช เรืองบุญ คุณกิจ
6. นายภิรมย์ ทองสิบวงษ์
6. นายเอกมงคล ระบอบ
7. นายธีรพล สุขชาติ
8. นายสำอางค์ กุศลล้ำ
9. นางสาวสุขศิริ ผิวอ่อน
10. นางพรทิพย์ เจริญวัฒน์
11. นางสาววันฑนา ฟักเงิน
12. นางสาวปาริฉัตร รักภิรมย์ พนักงานบริษัทรีซัล พลัส
13. นางนภาพร สวยสม พนักงานบริษัทรีซัล พลัส
14. นางสมทรง แผ่ผลศิริ พนักงานบริษัทรีซัล พลัส
15. นางสาวอภิรดี โพธิพันธ์ พนักงานบริษัทรีซัล พลัส
16. นายอัครวินทร์ เกษสุวรรณ์ พนักงานบริษัทรีซัล พลัส
17. นายจักรพงษ์ ผลาหาญ พนักงานบริษัทรีซัล พลัส
1. หลักการและเหตุผล
งานซักฟอกเป็นงานสนับสนุนบริการโรงพยาบาล ในด้านวัสดุผ้าสำหรับผู้ป่วย ผ้าเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับการรักษา ผ้าห้องผ่าตัด และผ้าทำหัตถการต่างๆ โดยใช้ระบบ Outsource บริหารจัดการร่วมกับบุคลากรภายใน ตั้งแต่กระบวนการจัดการผ้าเปื้อน ตลอดจนการจัดจ่ายผ้าสะอาดให้แก่หน่วยงานต่างๆ หน่วยงานมีเครื่องจักรที่ผลิตความร้อน เคมีภัณฑ์ วัสดุผ้า ที่เป็นเชื้อเพลิงอย่างดี และสถานที่ตั้งยังอยู่ใกล้กับเครื่องผลิตไฟโรงพยาบาล ห้องแก๊สทางการแพทย์ ซึ่งมีความเสี่ยงในการเกิดอัคคีภัย ดังนั้นหน่วยงานจึงได้จัดทำการจัดการความรู้เรื่อง การป้องกันและการระงับอัคคีภัย โดยมีพนักงานบริษัทรีซัล พลัส เข้าร่วมกิจกรรมในครั้งนี้ด้วย เพื่อให้บุคลากรและพนักงานบริษัท มีความรู้และสามารถปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องเมื่อมีเหตุฉุกเฉินเกิดขึ้น
2. วัตถุประสงค์
1.เพื่อให้บุคลากรและเจ้าหน้าที่ทุกคน ตระหนักถึงอันตรายจากอัคคีภัย
2.เพื่อให้บุคลากรมีความพร้อม ความเข้าใจ รับผิดชอบหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพเมื่อเกิดเหตุ
3.เพื่อให้เป็นแนวทางปฏิบัติต่อการเกิดอัคคีภัยถูกต้อง รวดเร็ว และทันเวลา
3. เป้าหมาย/ตัวชี้วัด
เพื่อจัดทำแนวทางปฏิบัติเรื่องอัคคีภัยในหน่วยงาน
เพื่อให้บุคลากรมีความรู้ ความเข้าใจและบอกขั้นตอนการระงับเหตุเบื้องต้นได้
4. วิธีการ/รูปแบบการจัดการความรู้
¨ Success Story Telling (SST) (กรณีเลือกข้อนี้ให้ใส่ข้อมูลตามตารางข้อ 5.1)
þ The World Cafe (กรณีเลือกข้อนี้ให้ใส่ข้อมูลตามตารางข้อ 5.2)
ผู้เข้าร่วมกิจกรรม
1. นางนงนุช แย้มวงศ์ ผู้จัดการความรู้ (KM Manager)
2. นายไชยนันท์ คุ้มเพื่อน คุณอำนวย ( Facilitator)
3. นายพรเทพ จันทร์แก้ว คุณอำนวย ( Facilitator)
4. นางสาวสุวรรณา สินสวาท คุณลิขิต (Note Taker)
5. นางสาววีรนุช เรืองบุญ คุณกิจ
6. นายภิรมย์ ทองสิบวงษ์
6. นายเอกมงคล ระบอบ
7. นายธีรพล สุขชาติ
8. นายสำอางค์ กุศลล้ำ
9. นางสาวสุขศิริ ผิวอ่อน
10. นางพรทิพย์ เจริญวัฒน์
11. นางสาววันฑนา ฟักเงิน
12. นางสาวปาริฉัตร รักภิรมย์ พนักงานบริษัทรีซัล พลัส
13. นางนภาพร สวยสม พนักงานบริษัทรีซัล พลัส
14. นางสมทรง แผ่ผลศิริ พนักงานบริษัทรีซัล พลัส
15. นางสาวอภิรดี โพธิพันธ์ พนักงานบริษัทรีซัล พลัส
16. นายอัครวินทร์ เกษสุวรรณ์ พนักงานบริษัทรีซัล พลัส
17. นายจักรพงษ์ ผลาหาญ พนักงานบริษัทรีซัล พลัส
1. หลักการและเหตุผล
งานซักฟอกเป็นงานสนับสนุนบริการโรงพยาบาล ในด้านวัสดุผ้าสำหรับผู้ป่วย ผ้าเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับการรักษา ผ้าห้องผ่าตัด และผ้าทำหัตถการต่างๆ โดยใช้ระบบ Outsource บริหารจัดการร่วมกับบุคลากรภายใน ตั้งแต่กระบวนการจัดการผ้าเปื้อน ตลอดจนการจัดจ่ายผ้าสะอาดให้แก่หน่วยงานต่างๆ หน่วยงานมีเครื่องจักรที่ผลิตความร้อน เคมีภัณฑ์ วัสดุผ้า ที่เป็นเชื้อเพลิงอย่างดี และสถานที่ตั้งยังอยู่ใกล้กับเครื่องผลิตไฟโรงพยาบาล ห้องแก๊สทางการแพทย์ ซึ่งมีความเสี่ยงในการเกิดอัคคีภัย ดังนั้นหน่วยงานจึงได้จัดทำการจัดการความรู้เรื่อง การป้องกันและการระงับอัคคีภัย โดยมีพนักงานบริษัทรีซัล พลัส เข้าร่วมกิจกรรมในครั้งนี้ด้วย เพื่อให้บุคลากรและพนักงานบริษัท มีความรู้และสามารถปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องเมื่อมีเหตุฉุกเฉินเกิดขึ้น
2. วัตถุประสงค์
1.เพื่อให้บุคลากรและเจ้าหน้าที่ทุกคน ตระหนักถึงอันตรายจากอัคคีภัย
2.เพื่อให้บุคลากรมีความพร้อม ความเข้าใจ รับผิดชอบหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพเมื่อเกิดเหตุ
3.เพื่อให้เป็นแนวทางปฏิบัติต่อการเกิดอัคคีภัยถูกต้อง รวดเร็ว และทันเวลา
3. เป้าหมาย/ตัวชี้วัด
เพื่อจัดทำแนวทางปฏิบัติเรื่องอัคคีภัยในหน่วยงาน
เพื่อให้บุคลากรมีความรู้ ความเข้าใจและบอกขั้นตอนการระงับเหตุเบื้องต้นได้
4. วิธีการ/รูปแบบการจัดการความรู้
¨ Success Story Telling (SST) (กรณีเลือกข้อนี้ให้ใส่ข้อมูลตามตารางข้อ 5.1)
þ The World Cafe (กรณีเลือกข้อนี้ให้ใส่ข้อมูลตามตารางข้อ 5.2)
ผู้เข้าร่วมกิจกรรม
1. นางนงนุช แย้มวงศ์ ผู้จัดการความรู้ (KM Manager)
2. นายไชยนันท์ คุ้มเพื่อน คุณอำนวย ( Facilitator)
3. นายพรเทพ จันทร์แก้ว คุณอำนวย ( Facilitator)
4. นางสาวสุวรรณา สินสวาท คุณลิขิต (Note Taker)
5. นางสาววีรนุช เรืองบุญ คุณกิจ
6. นายภิรมย์ ทองสิบวงษ์
6. นายเอกมงคล ระบอบ
7. นายธีรพล สุขชาติ
8. นายสำอางค์ กุศลล้ำ
9. นางสาวสุขศิริ ผิวอ่อน
10. นางพรทิพย์ เจริญวัฒน์
11. นางสาววันฑนา ฟักเงิน
12. นางสาวปาริฉัตร รักภิรมย์ พนักงานบริษัทรีซัล พลัส
13. นางนภาพร สวยสม พนักงานบริษัทรีซัล พลัส
14. นางสมทรง แผ่ผลศิริ พนักงานบริษัทรีซัล พลัส
15. นางสาวอภิรดี โพธิพันธ์ พนักงานบริษัทรีซัล พลัส
16. นายอัครวินทร์ เกษสุวรรณ์ พนักงานบริษัทรีซัล พลัส
17. นายจักรพงษ์ ผลาหาญ พนักงานบริษัทรีซัล พลัส
1. หลักการและเหตุผล
งานซักฟอกเป็นงานสนับสนุนบริการโรงพยาบาล ในด้านวัสดุผ้าสำหรับผู้ป่วย ผ้าเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับการรักษา ผ้าห้องผ่าตัด และผ้าทำหัตถการต่างๆ โดยใช้ระบบ Outsource บริหารจัดการร่วมกับบุคลากรภายใน ตั้งแต่กระบวนการจัดการผ้าเปื้อน ตลอดจนการจัดจ่ายผ้าสะอาดให้แก่หน่วยงานต่างๆ หน่วยงานมีเครื่องจักรที่ผลิตความร้อน เคมีภัณฑ์ วัสดุผ้า ที่เป็นเชื้อเพลิงอย่างดี และสถานที่ตั้งยังอยู่ใกล้กับเครื่องผลิตไฟโรงพยาบาล ห้องแก๊สทางการแพทย์ ซึ่งมีความเสี่ยงในการเกิดอัคคีภัย ดังนั้นหน่วยงานจึงได้จัดทำการจัดการความรู้เรื่อง การป้องกันและการระงับอัคคีภัย โดยมีพนักงานบริษัทรีซัล พลัส เข้าร่วมกิจกรรมในครั้งนี้ด้วย เพื่อให้บุคลากรและพนักงานบริษัท มีความรู้และสามารถปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้องเมื่อมีเหตุฉุกเฉินเกิดขึ้น
2. วัตถุประสงค์
1.เพื่อให้บุคลากรและเจ้าหน้าที่ทุกคน ตระหนักถึงอันตรายจากอัคคีภัย
2.เพื่อให้บุคลากรมีความพร้อม ความเข้าใจ รับผิดชอบหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพเมื่อเกิดเหตุ
3.เพื่อให้เป็นแนวทางปฏิบัติต่อการเกิดอัคคีภัยถูกต้อง รวดเร็ว และทันเวลา
3. เป้าหมาย/ตัวชี้วัด
เพื่อจัดทำแนวทางปฏิบัติเรื่องอัคคีภัยในหน่วยงาน
เพื่อให้บุคลากรมีความรู้ ความเข้าใจและบอกขั้นตอนการระงับเหตุเบื้องต้นได้
4. วิธีการ/รูปแบบการจัดการความรู้
¨ Success Story Telling (SST) (กรณีเลือกข้อนี้ให้ใส่ข้อมูลตามตารางข้อ 5.1)
þ The World Cafe (กรณีเลือกข้อนี้ให้ใส่ข้อมูลตามตารางข้อ 5.2)
ผู้เล่าเรื่อง (Narrator) |
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Share & Learn) |
เทคนิควิธีการ (Action) |
พี่นุช |
- ซักถามความเข้าใจในการปฏิบัติตัวเมื่อพบเหตุเกิดอัคคีภัยในหน่วยงาน โดยให้บุคลากรและพนักงานแลกเปลี่ยน แชร์ประสบการณ์ร่วมกัน |
- แลกเปลี่ยน แชร์ประสบการณ์ร่วมกัน |
พี่นันท์,เทพ เอ็ม |
- ให้ความรู้เรื่อง อัคคีภัย องค์ประกอบของไฟ และการระงับเหตุเบื้องต้น และมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน |
- อธิบาย แจกเอกสารประกอบ - แลกเปลี่ยน แชร์ประสบการณ์ร่วมกัน |
พี่อ้อ |
- อธิบายเส้นทางการหนีไฟของบุคลากรในหน่วยงาน และให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ |
- อธิบาย |
ลุงเอก,ลุงอ้อ |
- การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยระหว่างเกิดเหตุ และให้ทุกคนแสดงความคิดเห็น |
- อธิบายวิธีการและแสดงตัวอย่างประกอบ - แลกเปลี่ยน แชร์ประสบการณ์ร่วมกัน |
พี่นันท์,เทพ เอ็ม |
- ให้ความรู้เรื่องการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยในอาคารสูงโดยใช้รอกหนีไฟ และให้ทุกคนมีส่วนร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ |
- อธิบาย แจกเอกสารประกอบ - แลกเปลี่ยน แชร์ประสบการณ์ร่วมกัน |
พี่นันท์,เทพ เอ็ม |
- ซ้อมแผนอัคคีภัยหน่วยงาน โดยให้บุคลากรและพนักงานทุกคนร่วมปฏิบัติ - จากการซ้อมแผนระงับอัคคีภัยหน่วยงาน พบว่า แผนของหน่วยงานยังไม่ชัดเจนเรื่องของทางหนีไฟ บุคลากรยังสับสน ถังดับเพลิงไม่เพียงพอ |
- มีการซ้อมโดยการจำลองเหตุการณ์ โดยให้บุคลากรและเจ้าหน้าที่ร่วมปฏิบัติ - สรุปผลการซ้อม เสนอแนะข้อควรแก้ไข และวางแผนการซ้อมครั้งต่อไป |
7. Key Success Factor (ปัจจัยที่ทำให้ประสบความสำเร็จ สรุปจากกระบวนการจัดการความรู้ในข้อ.6 (โดยเรียงจากความถี่ที่ได้จากข้อ 6 จากความถี่มากสุดไปหาน้อยสุด)
1. บุคลากรมีความตระหนักและให้ความสำคัญกับการป้องกัน แจ้งเหตุ ระงับเหตุ และการใช้ถังดับเพลิง
2. บรรยากาศของกลุ่ม ทำให้ทุกคนกล้าที่จะแสดงความคิดเห็น แชร์ความรู้ประสบการณ์ร่วมกัน
3. บางหัวข้อไม่ใช่บริบทหน่วยงาน บุคลากรไม่คุ้นชิน จึงมีส่วนร่วมในการแชร์ความคิดเห็นน้อย ต้องให้ Facilitator อธิบาย และกระตุ้นให้เกิดการมีส่วนร่วมของสมาชิกในกลุ่ม
8. นวัตกรรมหรือสิ่งที่ได้จากการจัดการความรู้ (กรุณาแนบหลักฐาน)
£ คู่มือ
£ แผ่นพับ
þ แนวทางปฏิบัติ
และ £ มีการเผยแพร่ความรู้ผ่านโปรแกรมหรือระบบต่างๆ..เมื่อวันที่..(ระบุ).................................
เพื่อการตรวจสอบ (พร้อมปริ้นเอกสารแนบ หน้า Website KM หน่วยงานมาด้วย)
9. ผลจากการดำเนินการทำกิจกรรม KM
บุคลากร/เจ้าหน้าที่ในหน่วยงานได้เรียนรู้ร่วมกัน นำความรู้ ทฤษฎีและประสบการณ์ในเรื่องอัคคีภัยมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ และมีแนวทางปฏิบัติไปในทิศทางเดียวกันนำมาใช้เป็นแนวทางปฏิบัติเมื่อเกิดเหตุของหน่วยงานได้ เพื่อตอบสนองนโยบายขององค์กร
10. สรุปผลการนำเทคนิคไปปฏิบัติใช้
มีแนวทางปฏิบัติเรื่องอัคคีภัย
11. After Action Review (AAR)
1.ท่านสามารถนำองค์ความรู้ไปพัฒนาหน่วยงานของท่านได้อย่างไร
- บุคลากรในหน่วยงานสามารถปฏิบัติการป้องกัน แจ้งเหตุ ระงับเหตุเบื้องต้น และอพยพ ตามแผนได้อย่างถูกต้อง
- มีแนวทางปฏิบัติการป้องกันและระงับเหตุอัคคีภัยของหน่วยงาน
2.ท่านสามารถนำองค์ความรู้ไปพัฒนาองค์กรได้อย่างไร
- มีแนวทางปฏิบัติที่สอดคล้องกับนโยบายขององค์กร