Font Size

SCREEN

Profile

Layout

Direction

Menu Style

Cpanel
admin

admin

Administrator

แบบสรุปการเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานด้วยระบบลีน (Lean Management)
ภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู คลิกรายละเอียด

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้นวัตกรรมโรคที่พบบ่อยของผู้รับบริการแผนกการแพทย์แผนไทย

คลิกที่นี่


แบบสรุปการเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานด้วยระบบลีน (Lean Management) 

คลิกรายละเอียด

การจัดการความรู้ของหน่วยงาน เวชศาสตร์ฟื้นฟู หัวข้อในการจัดการความรู้ (Knowledge Vision) เรื่องการให้คาแนะนาแก่ผู้ป่ วยโรคหลอดเลือดสมองก่อนกลับบ้าน

คลิกรายละเอียด

ผลงานวิจัย

         1.โครงการวิจัย เรื่อง การศึกษาค่าปกติของการนำกระแสประสาทรับความรู้สึก Median, Ulnar, Radial และ Sural และการนำกระแสประสาทสั่งการ Median, Ulnar, Common peroneal และ Tibial ที่ศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี


         2.ร่วมวิจัย นโยบาย RW ระบบการจ่ายค่าตอบแทนตามภาระงานบริการทางออกของสาธารณสุขไทย


         3.ร่วมวิจัย โครงการวิจัย เรื่องการประเมินค่าพื้นที่หน้าตัด median nerve โดย ultrasound ในผู้ป่วย carpal tunnel syndrome


         4.ร่วมวิจัย โครงการวิจัย ศูนย์จัดการความรู้สร้างเสริมสุขภาพ



ผลงานดีเด่น
- รางวัลหน่วยงานที่ให้บริการดีเลิศ ประจำปี 2550

- อ.นพ.วรพล อร่ามรัศมีกุล ได้รับรางวัล อาจารย์ที่ปรึกษาองค์กรนิสิตดีเด่น ประจำปี 2552 ของมหาวิทยาลัยศรีนครรินทรวิโรฒ

- รางวัลชนะเลิศ การนำเสนอผลงานกิจกรรมพัฒนาคุณภาพประเภท CQI บนเวที (กลุ่มงานทีมนำทางคลินิกและทีมระบบงานสำคัญ) เรื่อง การสร้างมาตรฐานในการดูแลเท้าผู้ป่วยเบาหวาน ในงานประชุมวิชาการ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครรินทรวิโรฒ ปี 2555

- รางวัลชนะเลิศ การนำเสนอผลงานกิจกรรมพัฒนาคุณภาพประเภท CQI บนเวที (กลุ่มงานทีมนำทางคลินิกและทีมระบบงานสำคัญ) เรื่อง การรักษาแผลเรื้อรังที่เท้าในผู้ป่วยโรคเบาหวาน  โดยการใช้เฝือกแบบสัมผัสทุกสัดส่วน (Total contact cast) ในงานประชุมวิชาการ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครรินทรวิโรฒ ปี 2556

- รางวัลพื้นที่ 5ส ดีเด่น ประเภทหน่วยงานสนับสนุน ในปี 2554และ 2555

คลิกที่ชื่อหัวข้อบรรยาย เพื่อดาวน์โหลดเอกสารประกอบการเรียน 

 บทนำสู่เวชศาสตร์ฟื้นฟูและพรบ.คนพิการ (Introduction to PM&R) ผศ.นพ.วรพล อร่ามรัศมีกุล  

 เวชศาสตร์ฟื้นฟูในผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลัง (Rehabilitation in SCI) ผศ.นพ.วรพล อร่ามรัศมีกุล

 หลักการตรวจไฟฟ้าวินิจฉัย (Electrodiagnosis) ผศ.นพ.วรพล อร่ามรัศมีกุล       

  เครื่องมือทางกายภาพ (Physical modalities) อ.พญ.วันปณิธาน สุดเสน่หา
  การออกกำลังกายเพื่อการบำบัดรักษา (Therapeutic exercise) อ.พญ.วันปณิธาน สุดเสน่หา

  เวชศาสตร์ฟื้นฟูในผู้ป่วยตัดแขนขาและกายอุปกรณ์เทียม (Rehabilitation in amputee & Prosthesis) อ.พญ.ปภานุช ชัยวิรัตนะ 

 การตรวจประเมินเท้าเบาหวาน (Diabetic Foot Care) อ.พญ.ปภานุช ชัยวิรัตนะ

 เครื่องช่วยเดินและกายอุปกรณ์เสริม (Gait aid and Orthoses) อ.พญ.สุพรรณี ปังสุวรรณ

 เวชศาสตร์ฟื้นฟูในกลุ่มอาการปวดจากระบบกระดูก กล้ามเนื้อ และข้อ (Rehabilitation in musculoskeletal pain) อ.พญ.โฉมขจี สุขอารีย์ชัย

 เวชศาสตร์ฟื้นฟูในผู้ป่วยตัดแขนขาและกายอุปกรณ์เทียม (Rehabilitation in amputee) อ.พญ.โฉมขจี สุขอารีย์ชัย

                   ภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู เริ่มจัดตั้งโดยเริ่มต้นจัดตั้งเป็นสาขาวิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู ภาควิชาออร์โธปิดิกส์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ในปี พ.ศ.2550 โดยมี อ.นพ.วรพล อร่ามรัศมีกุล เป็นหัวหน้าสาขาวิชาคนแรก และพัฒนามาเป็นภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู ในปี พ.ศ.2553 โดยมี อ.นพ.วรพล อร่ามรัศมีกุล ดำรงตำแหน่งเป็นหัวหน้าภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู และเมื่ออาจารย์ได้รับตำแหน่งรองคณบดีฝ่ายพัฒนาศักยภาพนิสิตเมื่อ 1 ตุลาคม 2555 ได้แต่งตั้ง อ.พญ.ปภานุช ภัทรพนาวัน เป็นหัวหน้าภาควิชาคนต่อมา
              ด้านการเรียนการสอนเริ่มต้นจัดการเรียนการสอนโดยใช้ฐานการเรียนที่วชิรพยาบาล และสอนร่วมอยู่ในรายวิชาออร์โธปิดิกส์ โดยมี อ.นพ.วศิน กุลสมบูรณ์ เป็นผู้สอนในระยะแรก หลังจากที่มีการย้ายฐานการเรียนการสอนมา ณ โรงพยาบาลศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี   ทางคณะได้ประสานงานกับภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ในปี พ.ศ. 2546 ช่วยสอนในหัวข้อของเวชศาสตร์ฟื้นฟู และได้ย้ายมาให้กับงานเวชศาสตร์ฟื้นฟู โรงพยาบาลตำรวจ ในปี พ.ศ.2547 – พ.ศ. 2549   และหลังจากที่  อ.นพ.วรพล อร่ามรัศมีกุล ได้สำเร็จการศึกษาด้าน          เวชศาสตร์ฟื้นฟู จากคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในปี พ.ศ.2549 จึงได้กลับมาจัดการเรียนการสอนเองที่โรงพยาบาลศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และในปีการศึกษา 2553   ได้ปรับเปลี่ยนเป็นรายวิชาบังคับเลือก และแยกสอนออกมาจากรายวิชาออร์โธปิดิกส์ 1 สัปดาห์และตั้งแต่ปีการศึกษา 2555 ได้ปรับเปลี่ยนเป็นรายวิชาบังคับของนิสิตแพทย์