แบบสรุปการดำเนินการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง
Continuous Quality Improvement (CQI)
เรื่อง การลดขั้นตอนแลระยะเวลาการรับบริการในกลุ่มผู้ป่วยเจ็บชายโครง
ลำดับที่ .........1..........ปี.......2562...........
หน่วยงาน......ผู้ป่วยนอกศัลยกรรม...............
|
รายนามสมาชิกผู้ร่วมดำเนินการ
5 ลำดับปัญหาความเสี่ยง สำคัญที่พบในหน่วยงาน
1.ขั้นตอนในการให้บริการในกลุ่มผู้ป่วยเจ็บหน้าอกและชายโครงรายใหม่มีความซ้ำซ้อน
2.ข้อร้องเรียนเกี่ยวกับพฤติกรรมบริการ
3.การระบุตัวผู้ป่วยผิดพลาด
4.การคัดกรองผู้ป่วยผิดพลาด
5.การสื่อสารไม่สมบูรณ์
โครงการที่เลือกมา
ผู้ป่วยไม่เข้าใจกระบวนการในการเข้ารับการตรวจในกลุ่มผู้ป่วยเจ็บหน้าอกและชายโครง
หลักการและเหตุผล/ปัญหาและสาเหตุโดยย่อ
เนื่องจากขั้นตอนและระยะเวลาในการคัดกรองผู้ป่วยในกลุ่มเจ็บหน้าอกและชายโครงรายใหม่มีความซับซ้อนหลายขั้นตอนคือ
ยื่นใบนำทาง
ซักประวัติ
ลงทะเบียน
พบแพทย์ตรวจ
รับคำสั่งการรักษาจากแพทย์
ตรวจทางรังสีวิทยา
กลับมาเพื่อรอเข้าพบแพทย์
รับคำสั่งการรักษา ออกบัตรนัดพบแพทย์ครั้งถัดไป
วัตถุประสงค์
1.เพื่อลดขั้นตอนในการเข้าห้องตรวจแพทย์ ทำให้เกิดความรวดเร็วมากขึ้น
2.สร้างแนวทางในการคัดกรองผู้ป่วยรายใหม่ที่มีอาการเจ็บหน้าอกและชายโครง
3.เพื่อสร้างความพึงพอใจให้แก่ผู้รับบริการ
เป้าหมายและตัวชี้วัดของโครงการ
1.มีแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการคัดกรองผู้ป่วยในกลุ่มที่มีอาการเจ็บหน้าอกและชายโครง
2.ระยะเวลารวมในการตรวจรักษา น้อยกว่าหรือเท่ากับ 60 นาที
3.ผู้รับบริการเกิดความพึงพอใจ มากกว่าร้อนละ 80
ระยะเวลาในการดำเนินโครงการ……….ตุลาคม 2561 – กันยายน 2562......
ระยะเวลา (เดือน) ขั้นตอน |
ตค.61 |
พย.61 |
ธค.61 |
มค.62 |
กพ.62 |
มีค.62 |
เมย.62 |
พค.62 |
มิย.62 |
กค.62 |
สค.62 |
กย.62 |
วางแผน Plan |
||||||||||||
ลงมือแก้ปัญหา Do |
||||||||||||
ตรวจสอบผล Check |
||||||||||||
แก้ไขปรับปรุง Action และจัดทำมาตรฐาน |
ให้นำเสนอ 1 เส้นแผนงาน ด้วยเส้น
2 การดำเนินงานจริง ด้วยเส้น
สำรวจสภาพข้อมูลก่อนแก้ปัญหา
ชื่อข้อมูล ...จำนวนการคัดกรองผู้ป่วยรายใหม่ที่มีอาการเจ็บหน้าอกและชายโครงจำนวน 91 ราย ระยะเวลาการเก็บข้อมูล...........ตุลาคม 2561 – มีนาคม 2562........ แหล่งที่มาของข้อมูล ...การคัดกรองผู้ป่วยใหม่ที่มีอาการเจ็บหน้าอกและชายโครง,จำนวนข้อร้องเรียน,CQI... |
||
การจำแนกข้อมูล |
จำนวน |
ร้อยละ |
1.จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับการตรวจเอ็กซเรย์ก่อนพบแพทย์ |
62 |
68.14 |
2.จำนวนผู้ป่วยที่พบแพทย์ก่อนได้รับการตรวจเอ็กซเรย์ |
29 |
31.86 |
รวม |
91 |
100 |
การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา โดยแผนภูมิก้างปลา
M - Man บุคลากรหรือเจ้าหน้าที่
M - Method วิธีการ/กระบวนการทำงาน
M - Material วัตถุดิบหรือข้อมูล เช่น งบประมาณ การบริหารจัดการ
M - Machine อุปกรณ์/เครื่องมืออำนวยความสะดวก
E - Environment ปัจจัยภายนอกที่ส่งผลต่อปัญหา/ความเสี่ยง
|
ตารางกำหนดวิธีการแก้ไขและผลของการแก้ไขในแต่ละวิธีการที่กำหนด
ปัญหา |
สาเหตุ |
วางแผนการปรับปรุงแก้ไข |
ผู้รับผิดชอบ |
วัน/เดือน/ปี |
ประเมินผล การปรับปรุง |
|
เริ่ม |
สิ้นสุด |
แก้ไข |
||||
Man |
-ขาดความรู้ความชำนาญ -ขาดทักษะในการปฏิบัติงาน -ขาดความรู้เฉพาะทาง |
-ศึกษาเพิ่มพูนความรู้และทักษะในการปฏิบัติงาน |
คุณปนัดา |
ตค.61 |
กย.62 |
|
Method |
-กระบวนการซับซ้อนหลายขั้นตอน |
-ประชุมปรึกษาปัญหาร่วมกับทีมแพทย์เกี่ยวกับขั้นตอนในการเข้าตรวจให้มีแนวทางที่ชัดเจนไม่ซ้ำซ้อน |
คุณปนัดา |
ตค.61 |
กย.62 |
|
Material |
-การจัดการระบบในการคัดกรองผู้ป่วยไม่ชัดเจน |
- ประชุมปรึกษาร่วมกับทีมแพทย์และทีมวางแนวทางการคัดกรองผู้ป่วยที่มีอาการเจ็บหน้าอกและชายโครงรายใหม่ให้ชัดเจน |
คุณปนัดา |
ตค.61 |
กย.62 |
|
Machine |
------ |
------- |
คุณปนัดา |
ตค.61 |
กย.62 |
|
Environment |
------ |
------- |
คุณปนัดา |
ตค.61 |
กย.62 |