การจัดการความรู้หน่วยงานเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
เรื่อง การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บไขสันหลังอย่างปลอดภัย
ผู้เข้าร่วมกิจกรรม
1. นางนงนุช แย้มวงศ์ ผู้จัดการความรู้ (KM Manager)
2. นายภิรมย์ ทองสิบวงษ์ คุณอำนวย ( Facilitator)
3. นายธีรพล สุขชาติ คุณลิขิต (Note Taker)
4. นายเอกมงคล ระบอบ คุณกิจ
5. นายนพนันท์ คงศร คุณกิจ
6. นายพงษ์ศักดิ์ ล้อมวงษ์ คุณกิจ
7. นายพิมพ์ใจ กริ่มใจ คุณกิจ
8. นายพิชัย นิ่มเรือง คุณกิจ
9. นายเกรียงไกร ลือวัฒนา คุณกิจ
10. นายประสบโชค แก้วงาม คุณกิจ
1. หลักการและเหตุผล
การได้รับบาดเจ็บของกระดูกสันหลังและไขสันหลังเป็นภาวะคุกคามต่อชีวิต ครอบครัว และสังคม พบได้บ่อยกับบุคคลในวัยทำงาน ซึ่งการได้รับบาดเจ็บของกระดูก สันหลังและไขสันหลังพบประมาณร้อยละ 3 ของผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บทั้งหมด โดยมีครึ่งหนึ่งเป็นผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลังระดับคอ การได้รับบาดเจ็บของไขสันหลังนำมาซึ่งความสูญเสียชีวิต ความพิการ ระยะการดูแลรักษาที่ยาวนาน ต้องใช้ค่าใช้จ่ายในการรักษาที่สูง ดังนั้นความสำคัญเริ่มตั้งแต่การดูแลรักษาขณะเคลื่อนย้าย ณ จุดเกิดเหตุจนกระทั่งถึงโรงพยาบาล การดูแลที่ต่อเนื่องตั้งแต่ห้องฉุกเฉิน การตรวจวินิจฉัย ตลอดจนการทำหัตถการต่างๆ ก่อนถึงหอผู้ป่วยนั้นล้วนแต่เป็นขั้นตอนที่สำคัญอย่างยิ่ง โดยผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลังจะมีการสูญเสียของระบบประสาทการเคลื่อนไหว ระบบประสาทรับความรู้สึก และระบบประสาทอัตโนมัติ นอกจากนั้นยังเกิดความเสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญ ได้แก่ การเกิดแผลกดทับ การติดเชื้อทั้งในระบบทางเดินปัสสาวะ และภาวะปอดอักเสบติดเชื้อ ความเจ็บปวด ภาวะเส้นเลือดดำอักเสบอุดตัน เป็นต้น เนื่องจากเป็นภาวะคุกคามที่ยิ่งใหญ่สำหรับทุกครอบครัว จึงมักเกิดปัญหาทางด้านอารมณ์และจิตสังคม ตามมาด้วย สำหรับการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บกระดูกสันหลังนี้ เป็นทักษะที่พนักงานเคลื่อนย้ายต้องมีการเรียนรู้เนื่องจาก มีหลายกรณีที่เกิดขึ้นในระหว่างการเคลื่อนย้าย เช่น การเคลื่อนย้ายโดยใช้คน การเคลื่อนย้ายโดยใช้อุปกรณ์ต่างๆ การระมัดระวังและการใช้อุปกรณ์อย่างถูกวิธี
2. วัตถุประสงค์
2.1 เพื่อให้พนักงานเคลื่อนย้ายทุกคนมีองค์ความรู้ในการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บที่กระดูกสันหลังอย่างถูกต้องมีประสิทธิภาพ
2.2 เกิดการแลกเปลี่ยนประสบการณ์และเทคนิคต่างๆเพื่อให้มีการจัดทำแนวปฏิบัติที่ชัดเจน
3. เป้าหมาย/ตัวชี้วัด
3.1 เกิดองค์ความรู้ที่สามารถทำเป็นแนวปฏิบัติได้ 1 เรื่อง
3.2 พนักงานเคลื่อนย้ายทุกคน
4. วิธีการ/รูปแบบการจัดการความรู้ ***(กรุณาระบุ)***
• Success Story Telling (SST) (กรณีเลือกข้อนี้ให้ใส่ข้อมูลตามตารางข้อ 5.1)
/• The World Cafe (กรณีเลือกข้อนี้ให้ใส่ข้อมูลตามตารางข้อ 5.2)
5. กระบวนการจัดการความรู้ (Share & Learn)
5.1 Success Story Telling (SST)
5.2 The World Cafe
ผู้เล่าเรื่อง
(Narrator) การแลกเปลี่ยนเรียนรู้
(Share & Learn) เทคนิค/วิธีการ
(Action)
6.สรุปความถี่ (ข้อมูลที่ได้มาจากข้อ 5.1 หรือ 5.2)
เรื่อง จำนวนความถี่
1.วิธีการประเมินการบาดเจ็บ 5
2.เทคนิคการเคลื่อนย้ายด้วยคน 7
3.เทคนิคการเคลื่อนย้ายด้วย spinal board 8
4.เทคนิคการเคลื่อนย้ายโดยใช้อุปกรณ์ช่วย 9
5.หลักการในการเคลื่อนย้าย 3
7. Key Success Factor (ปัจจัยที่ทำให้ประสบความสำเร็จ สรุปจากกระบวนการจัดการความรู้ในข้อ.6 (โดยเรียงจากความถี่ที่ได้จากข้อ 6 จากความถี่มากสุดไปหาน้อยสุด)
1. การเคลื่อนย้ายโดยใช้อุปกรณ์ช่วย ปัจจัยแห่งความสำเร็จ คือการสาธิตและฝึกปฏิบัติ
2. การเคลื่อนย้ายโดยใช้ spinal board ปัจจัยแห่งความสำเร็จคือการสาธิตและฝึกปฏิบัติ
3. การเคลื่อนย้ายด้วยคน ปัจจัยแห่งความสำเร็จคือการสาธิตและฝึกปฏิบัติ
4. วิธีการประเมินการบาดเจ็บ ปัจจัยแห่งความสำเร็จ คือองค์ความรู้ของผู้ที่เคยประสบเหตุการณ์
5. หลักการเคลื่อนย้าย ปัจจัยแห่งความสำเร็จคือ ความรู้ที่ได้รับการฝึกปฏิบัติมาตลอดระยะเวลาการทำงาน
8. นวัตกรรมหรือสิ่งที่ได้จากการจัดการความรู้ (กรุณาแนบหลักฐาน)
/ คู่มือ
แผ่นพับ
และ / มีการเผยแพร่ความรู้ผ่านโปรแกรมหรือระบบต่างๆ..เมื่อวันที่ 9 เมษายน 2562
เพื่อการตรวจสอบ (พร้อมปริ้นเอกสารแนบ หน้า Website KM หน่วยงานมาด้วย)
9. ผลจากการดำเนินการทำกิจกรรม KM
9.1 ทำให้พนักงานทุกคนได้เกิดการถ่ายทอดประสบการณ์ในการเคลื่อนย้ายแบบต่างๆเพื่อให้คนรุ่นหลังได้มีเทคนิคดีๆในการป้องกันอุบัติเหตุในผู้ป่วยและตนเอง
9.2 มีคู่มือปฏิบัติการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บกระดูกสันหลังเผยแพร่ให้สาธารณชนนำไปเป็นหลักในการปฏิบัติได้
10. สรุปผลการนำเทคนิคไปปฏิบัติใช้
10.1 หลังจากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้พนักงานที่เข้ามาปฏิบัติงานใหม่สามารถเคลื่อนย้ายผู้ป่วยได้ถูกต้องมากยิ่งขึ้น
10.2
11. After Action Review (AAR)
1. ท่านสามารถนำองค์ความรู้ไปพัฒนาหน่วยงานของท่านได้อย่างไร
-สามารถนำไปใช้ในการปฏิบัติจริงในการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ในหอผู้ป่วยใน รวมทั้งปฏิบัติในการเคลื่อนย้ายกรณีผู้ป่วยได้รับอุบัติเหตุมาที่ห้องอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
2. ท่านสามารถนำองค์ความรู้ไปพัฒนาองค์กรได้อย่างไร
-เพิ่มความปลอดภัยในการให้บริการผู้ป่วย ซึ่งเป็นเป้าหมายของการให้บริการอย่างมีคุณภาพ
12. ภาพประกอบการทำกิจกรรม
4. วิธีการ/รูปแบบการจัดการความรู้ ***(กรุณาระบุ)***
• Success Story Telling (SST) (กรณีเลือกข้อนี้ให้ใส่ข้อมูลตามตารางข้อ 5.1)
/• The World Cafe (กรณีเลือกข้อนี้ให้ใส่ข้อมูลตามตารางข้อ 5.2)
5. กระบวนการจัดการความรู้ (Share & Learn)
5.1 Success Story Telling (SST)
5.2 The World Cafe
ผู้เล่าเรื่อง
(Narrator) การแลกเปลี่ยนเรียนรู้
(Share & Learn) เทคนิค/วิธีการ
(Action)
6.สรุปความถี่ (ข้อมูลที่ได้มาจากข้อ 5.1 หรือ 5.2)
เรื่อง จำนวนความถี่
1.วิธีการประเมินการบาดเจ็บ 5
2.เทคนิคการเคลื่อนย้ายด้วยคน 7
3.เทคนิคการเคลื่อนย้ายด้วย spinal board 8
4.เทคนิคการเคลื่อนย้ายโดยใช้อุปกรณ์ช่วย 9
5.หลักการในการเคลื่อนย้าย 3
7. Key Success Factor (ปัจจัยที่ทำให้ประสบความสำเร็จ สรุปจากกระบวนการจัดการความรู้ในข้อ.6 (โดยเรียงจากความถี่ที่ได้จากข้อ 6 จากความถี่มากสุดไปหาน้อยสุด)
1. การเคลื่อนย้ายโดยใช้อุปกรณ์ช่วย ปัจจัยแห่งความสำเร็จ คือการสาธิตและฝึกปฏิบัติ
2. การเคลื่อนย้ายโดยใช้ spinal board ปัจจัยแห่งความสำเร็จคือการสาธิตและฝึกปฏิบัติ
3. การเคลื่อนย้ายด้วยคน ปัจจัยแห่งความสำเร็จคือการสาธิตและฝึกปฏิบัติ
4. วิธีการประเมินการบาดเจ็บ ปัจจัยแห่งความสำเร็จ คือองค์ความรู้ของผู้ที่เคยประสบเหตุการณ์
5. หลักการเคลื่อนย้าย ปัจจัยแห่งความสำเร็จคือ ความรู้ที่ได้รับการฝึกปฏิบัติมาตลอดระยะเวลาการทำงาน
8. นวัตกรรมหรือสิ่งที่ได้จากการจัดการความรู้ (กรุณาแนบหลักฐาน)
/ คู่มือ
แผ่นพับ
และ / มีการเผยแพร่ความรู้ผ่านโปรแกรมหรือระบบต่างๆ..เมื่อวันที่ 9 เมษายน 2562
เพื่อการตรวจสอบ (พร้อมปริ้นเอกสารแนบ หน้า Website KM หน่วยงานมาด้วย)
9. ผลจากการดำเนินการทำกิจกรรม KM
9.1 ทำให้พนักงานทุกคนได้เกิดการถ่ายทอดประสบการณ์ในการเคลื่อนย้ายแบบต่างๆเพื่อให้คนรุ่นหลังได้มีเทคนิคดีๆในการป้องกันอุบัติเหตุในผู้ป่วยและตนเอง
9.2 มีคู่มือปฏิบัติการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บกระดูกสันหลังเผยแพร่ให้สาธารณชนนำไปเป็นหลักในการปฏิบัติได้
10. สรุปผลการนำเทคนิคไปปฏิบัติใช้
10.1 หลังจากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้พนักงานที่เข้ามาปฏิบัติงานใหม่สามารถเคลื่อนย้ายผู้ป่วยได้ถูกต้องมากยิ่งขึ้น
10.2
11. After Action Review (AAR)
1. ท่านสามารถนำองค์ความรู้ไปพัฒนาหน่วยงานของท่านได้อย่างไร
-สามารถนำไปใช้ในการปฏิบัติจริงในการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ในหอผู้ป่วยใน รวมทั้งปฏิบัติในการเคลื่อนย้ายกรณีผู้ป่วยได้รับอุบัติเหตุมาที่ห้องอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
2. ท่านสามารถนำองค์ความรู้ไปพัฒนาองค์กรได้อย่างไร
-เพิ่มความปลอดภัยในการให้บริการผู้ป่วย ซึ่งเป็นเป้าหมายของการให้บริการอย่างมีคุณภาพ
12. ภาพประกอบการทำกิจกรรม